บรูณาการ
ภาษาอังกฤษ
ภาษาไทย
สุขศึกษา
เทคโนโลยี
วันพุธที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2559
10. สังคหวัตถุ 4
10.
สังคหวัตถุ
4
หลักธรรมที่เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวน้ำใจคน
1.
ทาน การให้
2.
ปิยวาจา การกล่าวถ้อยคำไพเราะอ่อนหวาน
3.
อัตถจริยา การบำเพ็ญประโยชน์
4.
สมานัตตตา การประพฤติตนสม่ำเสมอทั้งต่อหน้าและลับหลัง
อ่านเพิ่มเติม
9.ฆราวาสธรรม 4
9.ฆราวาสธรรม
4
หลักธรรมสำหรับผู้ครองเรือน ได้แก่
1.
สัจจะ การมีความซื่อตรงต่อกัน
2.
ทมะ การรู้จักข่มจิตของตน ไม่หุนหันพลันแล่น
3.
ขันติ ความอดทนและให้อภัย
4.
จาคะ การเ สียสละแบ่งปันของตนแก่คนที่ควรแบ่งปัน
อ่านเพิ่มเติม
8. สัปปุริสธรรม 7
8.
สัปปุริสธรรม
7
หลักธรรมของคนดี หรือคุณสมบัติของคนดี
1.
ธัมมัญญุตา ความเป็นผู้รู้จักเหตุ
2.
อัตถัญญุตา ความเป็นผู้รู้จักผล
3.
อัตตัญญุตา ความเป็นผู้รู้จักตน
4.
มัตตัญญุตา ความเป็นผู้รู้จักประมาณ
5.
กาลัญญุตา ความเป็นผู้รู้จักกาลเวลา
6.
ปริสัญญุตา ความเป็นผู้รู้จักชุมชน
7.
ปุคคลปโรปรัญญุตา ความเป็นผู้รู้จักเลือกคบคนดี
อ่านเพิ่มเติม
7. บุญกิริยาวัตถุ 10
7.
บุญกิริยาวัตถุ
10
หลักธรรมแห่งการทำบุญ ทางแห่งการทำความดี
10
ประการ
1.
ทานมัย บุญสำเร็จด้วยการบริจาคทาน
2.
ศีลมัย บุญสำเร็จด้วยการรักษาศีล
3.
ภาวนามัย บุญสำเร็จด้วยการเจริญภาวนา
4.
อปจายนมัย บุญสำเร็จด้วยการประพฤติอ่อนน้อมถ่อมตน
ฃ
ต่อผู้ใหญ่
อ่านเพิ่มเติม
6. อัปปมาท
6.
อัปปมาท
ธรรมที่กล่าวถึงความไม่ประมาท คือ การดำเนินชีวิตที่มีสติเป็นเครื่องกำกับความประพฤติปฏิบัติและการกระทำทุกอย่าง ระมัดระวังไม่ถลำตัวไปในทางเสื่อมเสีย พระพุทธเจ้าทรงมีพระดำรัสเกี่ยวกับความไม่ประมาทว่า
“
ความไม่ประมาท ย่อมเป็นประโยชน์ยิ่งใหญ่
”
อ่านเพิ่มเติม
5. พรหมวิหาร 4
5.
พรหมวิหาร
4
ธรรมสำหรับผู้เป็นใหญ่ ผู้ปกครอง พ่อแม่ จำเป็นต้องมีไว้เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวสำหรับดำเนินชีวิต ได้แก่
1.
เมตตา ความรักใคร่ ปรารถนาจะให้เป็นสุข
2.
กรุณา ความสงสาร ต้องการที่จะช่วยบุคคลอื่น สัตว์อื่นให้หลุดพ้นจากความทุกข์
3.
มุทิตา ความชื่นชมยินดีเมื่อเห็นบุคคลอื่นเขาได้ดี
4.
อุเบกขา ความวางเฉยไม่ดีใจไม่เสียใจ เมื่อบุคคลอื่นประสบความวิบัติ
อ่านเพิ่มเติม
4. กฎแห่งกรรม
4.
กฎแห่งกรรม หมายถึง กระบวนการกระทำและการให้ผลการกระทำของมนุษย์ ซึ่งมีหลักอยู่ว่า
“
คนหว่านพืชเช่นใด ย่อมได้ผลเช่นนั้น ผู้ทำความดีย่อมได้รับผลดี ผู้ทำกรรมชั่วย่อมได้รับผลชั่ว
”
กรรม คือ การกระทำทางกาย วาจา หรือใจ ที่ประกอบด้วยเจตนา ดังพุทธวจนะตรัสว่า
“
ภิกษุทั้งหลาย เรากล่าวว่าเจตนาเป็นกรรม บุคคลจงใจแล้ว ย่อมกระทำทางกาย ทางวาจาและทางใจ
อ่านเพิ่มเติม
3. ไตรลักษณ์
3.
ไตรลักษณ์ คือ ลักษณะทั่วไปของสิ่งทั้งปวง
1.
อนิจจตา หรือ อนิจจัง ความไม่คงที่ ไม่เที่ยง ไม่ถาวร ไม่แน่นอน
2.
ทุกขตา หรือ ทุกขัง สภาพที่อยู่ในสภาวะเดิมไม่ได้ ต้องแปรปรวนไป
3.
อนัตตา ความไม่ใช่ตัวตนแท้จริง ไม่อยู่ในอำนาจบังคับบัญชา ไม่มีใครเป็นเจ้าของ
ในเรื่งไตรลักษณ์ พระพุทธศาสนาถือว่าเป็นคำสอนสูงสุด ซึ่งทุกสิ่งในสากลจักรวาลล่วนเป็นอนัตตาทั้งสิ้น
อ่านเพิ่มเติม
2.อริยสัจ 4
2.
อริยสัจ
4
อริยสัจ
4
แปลว่า ความจริงอันประเสริฐ เป็นหลักคำสอนที่สำคัญที่สุดของพระพุทธศาสนา
เพราะเป็นคำสอนที่จะช่วยให้บุคคลรอดพ้นจากความทุกข์เพื่อสู่นิพพาน ได้แก่
1.
ทุกข์ หมายถึง สภาพที่ทนได้ยากทั้งร่างกายและจิตใจ
1.1
สภาวทุกข์ หรือ ทุกข์ประจำ ได้แก่ เกิด แก่ เจ็บ ตาย
1.2
ปกิณกทุกข์ หรือทุกข์จร เป็นทุกข์ที่เกิดขึ้นภายหลัง เกิดขึ้นแล้วก็ผ่านไปและเกิดขึ้นเนืองๆ เช่น ความเศร้าโศก ความไม่สบายกายไม่สบายใจ ความคับแค้นใจ
2.
สมุทัย หมายถึง เหตุที่ทำให้เกิดทุกข์ ได้แก่ ตัณหา( ความอยาก)
อ่านเพิ่มเติม
1.ขันธ์ 5
1.
ขันธ์
5
หรือ เบญจขันธ์ คือ องค์ประกอบของชีวิตมนุษย์ที่ประกอบด้วยรูปและนาม
รูป คือ ส่วนที่เป็นร่างกาย ประกอบด้วยธาตุ
4
ได้แก่
-
ธาตุดิน(ส่วนของร่างกายที่เป็นของแข็ง เช่น เนื้อ กระดูก ผม)
-
ธาตุน้ำ (ส่วนที่เป็นของเหลวของร่างกาย) เช่น เลือด น้ำลาย น้ำเหลือง น้ำตา )
-
ธาตุลม (ส่วนที่เป็นลมของร่างกาย ได้แก่ ลมหายใจเข้าออก ลมในกระเพาะอาหาร)
-
ธาตุไฟ ( ส่วนที่เป็นอุณหภูมิของร่างกาย ได้แก่ ความร้อนในร่างกายมนุษย์)
อ่านเพิ่มเติม
บทความที่ใหม่กว่า
หน้าแรก
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)